กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 0 2193 7000

สื่อมัลติมีเดีย

HAPPY PLACE ตอน กลับบ้านปลอดภัย ต้อนรับเทศกาลสงกรานต์

เผยแพร่ : 19 เมษายน 2567 อ่าน : 23 ครั้ง สื่อมัลติมีเดีย

รายการ Exclusive Health Talk ตอน “Smart Card อสม นวัตกรรมเพื่อสุขภาพชุมชน” EP.2

เผยแพร่ : 19 เมษายน 2567 อ่าน : 25 ครั้ง สื่อมัลติมีเดีย

วิถีใหม่สไตล์เฮลท์ ตอนที่ 49 รู้จัก อสม. ผู้ดูแลสุขภาพ

เผยแพร่ : 18 เมษายน 2567 อ่าน : 31 ครั้ง สื่อมัลติมีเดีย

บัตร smat card อสม. เพื่อพี่น้อง อสม .

เผยแพร่ : 18 เมษายน 2567 อ่าน : 36 ครั้ง สื่อมัลติมีเดีย

วิถีใหม่สไตล์เฮลท์ ตอนที่ 48 Post Vacation Blues ภาวะอารมณ์เศร้าหลังหยุดยาว

เผยแพร่ : 01 เมษายน 2567 อ่าน : 46 ครั้ง สื่อมัลติมีเดีย

รายการ Exclusive Health Talk ตอน “Smart Card อสม นวัตกรรมเพื่อสุขภาพชุมชน” EP.2

เผยแพร่ : 01 เมษายน 2567 อ่าน : 37 ครั้ง สื่อมัลติมีเดีย

วิถีใหม่สไตล์เฮลท์ ตอนที่ 47 ตำบลจัดการสุขภาพ คืออะไร

เผยแพร่ : 01 เมษายน 2567 อ่าน : 38 ครั้ง สื่อมัลติมีเดีย

รายการ Exclusive Health Talk ตอน “Smart Card อสม นวัตกรรมเพื่อสุขภาพชุมชน”

เผยแพร่ : 01 เมษายน 2567 อ่าน : 50 ครั้ง สื่อมัลติมีเดีย

วิถีใหม่สไตล์เฮลท์ ตอนที่ 46 ฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 ตัวการร้ายก่ออันตรายต่อร่างกาย

เผยแพร่ : 01 เมษายน 2567 อ่าน : 44 ครั้ง สื่อมัลติมีเดีย

วิถีใหม่สไตล์เฮลท์ ตอนที่ 45 รพ.เอกชน-คลินิก ต้องแสดงค่ารักษาพยาบาล

เผยแพร่ : 29 มีนาคม 2567 อ่าน : 128 ครั้ง สื่อมัลติมีเดีย

วิถีใหม่สไตล์เฮลท์ ตอนที่ 44 7 เรื่องคลินิกเอกชนโฆษณาได้

เผยแพร่ : 29 มีนาคม 2567 อ่าน : 139 ครั้ง สื่อมัลติมีเดีย

วิถีใหม่สไตล์เฮลท์ ตอนที่ 43 ตักบาตรสุขภาพ

เผยแพร่ : 29 มีนาคม 2567 อ่าน : 198 ครั้ง สื่อมัลติมีเดีย

บทความ

“ยาลูกกลอน” อีกหนึ่งรูปแบบยาแผนโบราณ ที่เกิดจากการนำสมุนไพรมาบด แล้วนำผงยาที่ได้ มาคลุกเคล้ากับน้ำผึ้งจนยึดเกาะกัน ปั้นเป็นเม็ดกลม สมัยโบราณใช้วิธีตากแดดจนแห้งสนิทแล้วเก็บใส่ขวดโหลสามารถเก็บไว้กินได้นาน... อ่านต่อ...

เผยแพร่ : 27 กุมภาพันธ์ 2567 อ่าน : 394 ครั้ง บทความ

การรู้จักป้องกันโรคอย่างถูกวิธี จะช่วยควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคได้ ความพอดี คือ  การสร้างความสมดุล ความเหมาะสม ร่างกายของเรามีกลไกในการปรับสมดุลเพื่อต่อสู้กับโรคภัยไข้เจ็บ... อ่านต่อ...

เผยแพร่ : 27 กุมภาพันธ์ 2567 อ่าน : 111 ครั้ง บทความ

โรคเบาหวาน หลายๆ คนอาจคิดว่าเป็นได้เฉพาะผู้ใหญ่เท่านั้น แต่ความจริงแล้วเบาหวานสามารถ    เกิดในเด็กได้เช่นกัน  ซึ่งเกิดจากการขาดอินซูลิน หรือการทำงานของอินซูลินบกพร่อง... อ่านต่อ...

เผยแพร่ : 20 กุมภาพันธ์ 2567 อ่าน : 116 ครั้ง บทความ

โรคพิษสุนัขบ้าหรือโรคกลัวน้ำ เป็นโรคติดต่อร้ายแรงจากการติดเชื้อไวรัสเรบีส์ (Rabies) ซึ่งพบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเป็นพาหะนำโรคสู่คน เช่น หมา แมว... อ่านต่อ...

เผยแพร่ : 20 กุมภาพันธ์ 2567 อ่าน : 106 ครั้ง บทความ

สมองเป็นอวัยวะที่สำคัญมากสำหรับร่างกาย เพราะมีหน้าที่ในการควบคุมระบบต่างๆ ของร่างกาย   โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ระบบความคิด ความจำต่างๆ ซึ่งเมื่ออายุมากขึ้นอาจจะเกิดความเสื่อมถอยของการทำงานหรือโครงสร้างเนื้อเยื่อของสมองได้... อ่านต่อ...

เผยแพร่ : 20 กุมภาพันธ์ 2567 อ่าน : 114 ครั้ง บทความ

สุขภาพดี ด้วยสุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ “สุขบัญญัติแห่งชาติ” เป็นแนวทางการปฏิบัติตนหรือการดูแลสุขภาพพื้นฐาน เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยงจากโรคภัยไข้เจ็บ รวมทั้งอันตรายต่อสุขภาพที่อาจเกิดขึ้น... อ่านต่อ...

เผยแพร่ : 13 ตุลาคม 2566 อ่าน : 6976 ครั้ง บทความ

กรม สบส. ร่วม ธปท.ส่งเสริมความรู้ทางการเงินให้ อสม.นำไปใช้ บอกต่อ ยกระดับคุณภาพชีวิตชาวชุมชนอย่างยั่งยืน

img_630133D82DDF-C888-D0B7-316B-BF6C89D44CD6

          กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ และธนาคารแห่งประเทศไทย ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการส่งเสริมความรู้ทางการเงินแก่บุคลากรสาธารณสุข และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) สร้างความตระหนัก รับรู้ และเข้าใจการบริหารจัดการเงิน และภัยทางการเงินในยุคดิจิทัล จนเกิดการนำไปใช้ และบอกต่อ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและสุขภาพทางการเงินของชาวชุมชนให้ดีขึ้นอย่างยั่งยืน

          บ่ายวันที่ 8 สิงหาคม 2565 ณ ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานใหญ่ นพ.ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์ อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (กรม สบส.) กระทรวงสาธารณสุข พร้อมด้วย นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ รองอธิบดีกรม สบส. น.ส.วชิรา อารมย์ดี รองผู้ว่าการ ด้านบริหาร ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) และ น.ส.นวพร มหารักขกะผู้ช่วยผู้ว่าการ สายบริหารความเสี่ยงองค์กร ธปท.ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการส่งเสริมความรู้ทางการเงินระหว่างกรม สบส. และ ธปท.

          นพ.ธเรศ กล่าวว่า จากวิกฤตการณ์การด้านสุขภาพที่ทั่วโลกเผชิญในช่วงที่ผ่านมา ก็คือ การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 รวมทั้งโรคฝีดาษลิง ซึ่งนอกจากจะส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข และสุขภาพของประชาชนแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อสภาพทางการเงินของทุกกลุ่มอาชีพ อีกทั้ง ในปัจจุบันยังมีปัจจัยอื่นๆ เช่น เทคโนโลยีดิจิทัล สื่อสังคมออนไลน์ (Social media) และอาชญากรรมทางการเงินในรูปแบบใหม่ๆ กรม สบส. และ ธปท.ต่างเล็งเห็นถึงความสำคัญ ในการสร้างความตระหนักเรื่องความปลอดภัยทางการเงิน การบริหารจัดการ และการออมเพื่อใช้ในยามฉุกเฉินให้กับประชาชน จึงร่วมกันจัดทำ “บันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการส่งเสริมความรู้ทางการเงินระหว่างกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ และธนาคารแห่งประเทศไทย” ขึ้น ด้วยวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมความรู้ทางการเงินแก่บุคลากรด้านสาธารณสุข และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หรือ อสม. ให้เกิดความตระหนัก และความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเงินส่วนบุคคล อันเป็นทักษะที่มีความสำคัญ ซึ่งช่วยให้ประชาชนทั้งในเขตเมืองและชนบทมีสุขภาพทางการเงินที่ดี ทั้งสองฝ่าย โดยทั้งสองฝ่ายจะร่วมกันพัฒนาเนื้อหาความรู้ทางการเงิน เครื่องมือในการสื่อสารและกิจกรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขในสังกัด ทั้งบุคลกรกรม สบส. และ อสม.ทั่วประเทศ โดยนำเนื้อหาความรู้ทางการเงินเผยแพร่ผ่านช่องทางต่างๆ ที่แต่ละองค์กรมีเครือข่ายสัมพันธ์ อาทิ แอปพลิเคชั่น SMART อสม. กลุ่มไลน์ (LINE) ประธานชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขจังหวัด ให้ พี่น้อง อสม.ได้เรียนรู้ จนเกิดความรู้ความเข้าใจ ความตระหนัก ในการบริหารจัดการการเงินได้อย่างเหมาะสมทั้งการออม การจัดทำงบประมาณรายรับรายจ่าย การจัดการหนี้  การวางแผนทางการเงิน รวมถึงการรู้เท่าทันภัยทางการเงินในยุคดิจิทัล ซึ่งความรู้เหล่านี้นอกจาก อสม.จะสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันแล้ว ยังสามารถนำไปถ่ายทอด บอกต่อให้แก่ ครอบครัว บุคคลใกล้ชิด และประชาชน เพื่อให้พี่น้องประชาชนในชุมชนเกิดภูมิคุ้มกันทางการเงิน ยกระดับคุณภาพชีวิตและสุขภาพทางการเงินให้ดีขึ้นอย่างยั่งยืน

Save
Cookies user preferences
We use cookies to ensure you to get the best experience on our website. If you decline the use of cookies, this website may not function as expected.
ตกลง
ปฏิเสธ
Read more
Functional
Tools used to give you more features when navigating on the website, this can include social sharing.
AddThis
ตกลง
ปฏิเสธ
Analytics
Tools used to analyze the data to measure the effectiveness of a website and to understand how it works.
Google Analytics
ตกลง
ปฏิเสธ